ชีวิตสมณะ
- รายละเอียด
- ฮิต: 4061
ความสัมพันธ์ระหว่างพระธรรม กับพระวินัย
พระพุทธศาสนา คือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติและทรงแสดงไว้ตลอดระยะเวลา ๔๕ ปีหลังจากได้ตรัสรู้แล้ว ท่านแบ่งไว้เป็น ๒ ส่วน คือ ธรรม กับ วินัย หรือ พระธรรม กับ พระวินัย เรียกรวมกันว่า พระธรรมวินัย
- รายละเอียด
- ฮิต: 4216
ไตรสิกขา
สิกขาแปลว่า การศึกษา, การเล่าเรียน ในที่นี้หมายถึงข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อที่จะต้องปฏิบัติ มี ๓ ประการ จึงเรียกว่า ไตรสิกขา
ไตรสิกขา เป็นข้อที่ท่านกำหนดไว้สำหรับศึกษาเรียนรู้สำหรับปฏิบัติ คล้ายเป็นหลักสูตรเพื่อเรียนรู้พระพุทธศาสนาสำหรับบรรพชิตคือภิกษุสามเณร และพุทธสาวกทั้งหลายเมื่อเรียนรู้และปฏิบัติตามได้แล้วย่อมได้รับอานิสงส์ได้รับความเจริญก้าวหน้าไปตามลำดับ จนถึงสามารถบรรลุถึงมรรคผลนิพพานได้
- รายละเอียด
- ฮิต: 6930
พระวินัยบัญญัติ
อปฺปเกนปิ เมธาวี
ปาภเฏน วิจกฺขโณ
สมุฏฺฐาเปติ อตฺตานํ
อณุํ อคฺคึว สนฺธมํ ฯ
ผู้มีปัญญา มีความพินิจรอบคอบ
ย่อมตั้งตัวได้ด้วยต้นทุนแม้เพียงเล็กน้อย
เหมือนก่อไฟกองน้อยให้เป็นกองใหญ่.
ที่มา : จุลลกเสฏฐิชาดก ขุ.ชา. ๒๗/๔
- รายละเอียด
- ฮิต: 16329
หมอชีวกสรรเสริญพระพุทธคุณ
เมื่อพระเจ้าอชาตศตรูทรงมีรับสั่งถามเฉพาะตนเช่นนั้น หมอชีวกโกมารภัจจ์จึงได้โอกาสกราบทูลว่า ขณะนี้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จประทับ ณ สวนอัมพวัน พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๑,๒๕๐ รูป ครั้นเห็นจอมกษัตริย์ทรงรับฟังด้วยความสนพระทัย หมอชีวกจึงกล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณ ให้เป็นที่ปรากฏพร้อมบริบูรณ์ ทั้งพระปัญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระกรุณาคุณ ด้วยน้ำเสียงดังกังวานว่า
- รายละเอียด
- ฮิต: 9860
ที่มาแห่งสามัญญผลสูตร
5. พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงสงสัยเป้าหมายของนักบวช
พระเจ้าอชาตศัตรูทรงประสบทุกข์แสนสาหัส ภายหลังจากพระราชบิดาสิ้นพระชนม์ด้วยการกระทำของพระองค์เอง ประกอบกับทรงได้สดับคำติเตียนของชาวแว่นแคว้นในกรรมชั่วของพระเทวทัต เมื่อทรงครุ่นคิดไตร่ตรองดูด้วยปัญญาแล้ว พระองค์จึงทรงตระหนักว่า ความทุกข์และความเดือดร้อนที่พระองค์กำลังเผชิญอยู่นี้ ล้วนมีสาเหตุมาจากความหลงผิด หลงเชื่อและยกย่องบูชานักบวชอย่างเทวทัตโดยแท้ ขณะเดียวกันก็ทรงพิศวงนักหนาว่า เหตุใดนักบวชเทวทัตที่พระองค์เห็นว่าเป็นผู้ทรงศีล มิหนำซ้ำยังเป็นพระญาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอีกด้วย
อ่านเพิ่มเติม: ที่มาแห่งสามัญญผลสูตร 5.พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงสงสัยเป้าหมายของนักบวช